ส่วนแบ่งรายรับคือวิธีการแจกจ่ายผลกําไรของธุรกิจให้กับพาร์ทเนอร์หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งพบได้ทั่วไปในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น สื่อ ซอฟต์แวร์ และการตลาดแบบพันธมิตร เช่น ผู้สร้างเนื้อหาจะได้รับเปอร์เซ็นต์จากรายได้โฆษณาที่วิดีโอของตนสร้างขึ้นบนแพลตฟอร์ม ส่วนแบ่งรายรับช่วยให้ทุกฝ่ายได้รับประโยชน์อย่างเป็นสัดส่วนจากรายรับที่สร้างขึ้น ช่วยให้ผลประโยชน์ของทุกฝ่ายสอดคล้องกันและส่งเสริมความร่วมมือกัน
ในบทความนี้เราจะอธิบายถึงหลักการทํางานของการแบ่งรายรับ การแบ่งรายรับรูปแบบต่างๆ ประเภทธุรกิจที่ใช้โมเดลนี้ รวมถึงประโยชน์และความท้าทาย
บทความนี้ให้ข้อมูลอะไรบ้าง
- วิธีการทํางานของการแบ่งรายรับ
- ประเภทของการแบ่งรายรับ
- ธุรกิจประเภทใดบ้างที่ใช้การแบ่งรายรับ
- ประโยชน์ของการแบ่งรายรับ
- ความท้าทายจากการแบ่งรายรับ
How revenue sharing works
At the outset, all parties to the revenue sharing agreement establish a contract outlining the following terms:
The parties involved and their roles
The type of revenue to be shared (e.g., gross, net, specific product lines)
The method of calculation (e.g., percentage, fixed amount, tiered)
The frequency of distribution (e.g., monthly, quarterly, annually)
Any other relevant terms and conditions
The business or project then generates revenue through sales, services, subscriptions, or other income streams. The business tracks and documents this revenue before dividing it among the parties based on the contract’s terms. Parties can receive direct payments, royalty checks, or other forms of compensation. They also often receive periodic reports that show the revenue generated, expenses incurred (if applicable), and the distribution of funds.
Examples of revenue sharing
Music industry: Streaming platforms such as Spotify and Apple Music use revenue sharing models to compensate artists and record labels based on the number of streams their music receives.
Affiliate marketing: Companies share a portion of their revenue with affiliate marketers who promote their products and drive sales through unique referral links.
Franchise businesses: Franchisors often receive royalties based on the revenue generated by their franchisees.
Joint ventures: Two or more companies might collaborate on a project and share the resulting revenue based on their respective contributions.
ประเภทของการแบ่งรายรับ
ต่อไปนี้คือการแบ่งรายรับประเภทต่างๆ ที่พบบ่อย
การแบ่งรายรับเท่ากัน
การแบ่งรายรับเท่ากันคือการกระจายรายรับในสัดส่วนเท่ากันระหว่างคู่สัญญา ซึ่งเป็นแนวทางที่เรียบง่าย ยุติธรรม เข้าใจได้ง่าย และสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม วิธีนี้อาจไม่เหมาะในกรณีที่แต่ละฝ่ายทุ่มเทหรือลงทุนในธุรกิจเป็นมูลค่าไม่เท่ากัน เพราะอาจทําให้เกิดข้อพิพาทขึ้นได้หากฝ่ายหนึ่งรู้สึกว่าสมควรได้รับส่วนแบ่งมากกว่า ข้อตกลงแบบนี้จึงเหมาะกับการร่วมมือกันระหว่างบุคคลที่ได้ลงทุนและมีส่วนร่วมในธุรกิจในสัดส่วนใกล้เคียงกัน หรือกิจการร่วมลงทุนที่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายลงทุนในจำนวนเท่ากัน
ค่าลิขสิทธิ์
ในการแบ่งรายรับแบบค่าลิขสิทธิ์ ผู้อนุญาตและผู้ได้รับอนุญาตให้ใช้สิทธิ์จะแบ่งรายรับจากค่าลิขสิทธิ์กัน ข้อตกลงแบบนี้มอบช่องทางสร้างรายได้ที่มั่นคงให้กับผู้ได้รับใบอนุญาต จูงใจให้พวกเขาสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีคุณภาพสูง และช่วยให้พวกเขาสามารถใช้สินทรัพย์ที่มีอยู่แล้วได้โดยไม่ต้องชําระเงินล่วงหน้า แต่การกําหนดอัตราค่าลิขสิทธิ์ที่ยุติธรรมอาจไม่ใช่เรื่องง่ายและอาจจะไม่สามารถคาดการณ์รายรับได้
การแบ่งรายรับรูปแบบนี้เหมาะกับข้อตกลงการออกใบอนุญาตให้ใช้ทรัพย์สินทางปัญญา (เช่น สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า) ผลงานสร้างสรรค์ (เช่น ดนตรี หนังสือ) และเทคโนโลยี (เช่น ซอฟต์แวร์)
ค่าบริการพร้อมค่าลิขสิทธิ์
ในการแบ่งรายรับแบบค่าบริการพร้อมค่าลิขสิทธิ์ คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งจะได้รับชำระเงินในอัตราคงที่ พร้อมกับส่วนแบ่งค่าลิขสิทธิ์ ผู้ให้บริการจะมีหลักประกันทางการเงินจากค่าบริการ และมีโอกาสสร้างรายได้มากขึ้นจากค่าลิขสิทธิ์ นอกจากนี้ยังช่วยให้ผลประโยชน์ของทั้งสองฝ่ายสอดคล้องกันและมุ่งสร้างความสําเร็จ อย่างไรก็ตาม การกำหนดอัตราค่าบริการและค่าลิขสิทธิ์ให้ยุติธรรมอาจทําได้ยาก และค่าบริการอาจจะไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายของผู้ให้บริการอย่างครบถ้วน
ปกติแล้วแนวทางการแบ่งรายรับประเภทนี้จะไม่เหมาะกับโครงการที่มีผลลัพธ์ที่ไม่แน่นอน แต่เหมาะกับโครงการที่ไม่เพียงมีงานอยู่แล้วบางส่วน แต่ยังอาจมีแนวโน้มในการสร้างรายรับอย่างต่อเนื่องด้วย ซึ่งกรณีหลังอาจรวมถึงบริการให้คําปรึกษา โครงการผลิตผลงานสร้างสรรค์ หรือแคมเปญการตลาด
การแบ่งเปอร์เซ็นต์จากรายรับขั้นต้น
การแบ่งเปอร์เซ็นต์จากรายรับขั้นต้นเป็นการมอบส่วนแบ่งจากรายรับขั้นต้นของบริษัทให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตามเปอร์เซ็นต์ที่กำหนดไว้ วิธีนี้คํานวณง่ายและจูงใจให้พวกเขาพยายามเพิ่มยอดขาย แต่ไม่มีการพิจารณาค่าใช้จ่าย และอาจทําให้เกิดข้อพิพาทขึ้นได้หากรายรับผันผวนไม่แน่นอน นอกจากนี้ยังอาจไม่ยุติธรรม หากฝ่ายหนึ่งมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอย่างมาก การแบ่งรายรับประเภทนี้เหมาะกับการจ่ายค่าคอมมิชชั่นการขาย โปรแกรมการตลาดพันธมิตร และในกรณีที่ค่าใช้จ่ายค่อนข้างน้อยและคาดการณ์ได้
การแบ่งเปอร์เซ็นต์จากรายรับสุทธิ
การแบ่งเปอร์เซ็นต์จากรายรับสุทธิเป็นการมอบส่วนแบ่งจากรายรับสุทธิของบริษัทให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตามเปอร์เซ็นต์ที่กำหนดไว้ของบริษัทกําหนดไว้ล่วงหน้า วิธีนี้จะสะท้อนผลกําไรของกิจการได้อย่างถูกต้องแม่นยํามากกว่าและจูงใจให้ทั้งสองฝ่ายควบคุมค่าใช้จ่าย ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเองก็อาจมองว่าวิธีนี้ยุติธรรมมากกว่าในหลายกรณี แต่การคํานวณอาจทําได้ยากกว่า และหากตกลงกันไม่ได้เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่อนุญาตก็อาจเกิดข้อพิพาทขึ้น และต้องมีความโปร่งใสเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย การแบ่งรายรับแบบนี้เหมาะกับห้างหุ้นส่วน กิจการร่วมลงทุน และกิจการที่เจ้าของธุรกิจจะแบ่งผลกำไรกัน
จํานวนคงที่ต่อหน่วย
ในการแบ่งรายรับแบบกำหนดจํานวนคงที่ต่อหน่วย ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจะได้รับเงินเป็นจํานวนคงที่ต่อหน่วยสินค้าและบริการที่ขายได้ วิธีนี้เรียบง่ายและคาดการณ์ได้สำหรับคู่สัญญาทัง้สองฝ่าย ติดตามตรวจสอบและคํานวณได้ง่าย อีกทั้งยังจูงใจให้คู่สัญญาพยายามขายสินค้าได้จำนวนมากขึ้น ข้อเสียคืออาจไม่สะท้อนถึงมูลค่าที่แท้จริงของความทุ่มเทและการลงทุนของแต่ละฝ่าย และไม่ได้คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพตลาดหรือต้นทุนการผลิต การแบ่งรายรับรูปแบบนี้เหมาะสําหรับศิลปินและครีเอเตอร์ที่มีรายได้จากค่าลิขสิทธิ์หรือข้อตกลงการออกใบอนุญาตสำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีต้นทุนการผลิตคงที่
การแบ่งรายรับตามระดับ
การแบ่งรายรับตามระดับเป็นการแบ่งรายรับให้แก่พาร์ทเนอร์เป็นเปอร์เซ็นต์ โดยพิจารณาจากเกณฑ์รายรับที่กําหนดไว้ล่วงหน้าที่บริษัททำได้ วิธีนี้จูงใจให้ทุ่มเททำงานด้วยประสิทธิภาพสูง มอบรางวัลตอบแทนแก่ผู้ที่ทำผลงานได้เป้าหมาย และปรับผลประโยชน์ให้สอดคล้องกันเมื่อเวลาผ่านไป ข้อเสียคือการนำไปใช้และการติดตามอาจมีความซับซ้อน และสร้างแรงกดดันว่าจะต้องทำให้ถึงเกณฑ์ที่กําหนดได้ วิธีนี้เหมาะกับฝ่ายขาย โปรแกรมการตลาดแบบพันธมิตร และกิจกรรมที่สามารถวัดผลการดำเนินงานได้ง่ายและเหมาะกับการมอบรางวัลจูงใจแบบหลายระดับ
การแบ่งรายรับแบบกำหนดเอง
การแบ่งรายรับแบบกำหนดเองคือข้อตกลงที่ปรับแต่งมาเพื่อตอบโจทย์ความต้องการและเป้าหมายเฉพาะของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ข้อตกลงประเภทนี้จะทำให้เกิดเป็นวิธีแก้ไขปัญหาที่สร้างสรรค์และการร่วมมือในแบบที่ไม่เหมือนใคร แต่ว่าการเจรจาและการร่างข้อตกลงอาจมีความซับซ้อนและอาจต้องอาศัยความเชี่ยวชาญด้านกฎหมาย ส่วนการบังคับใช้ก็อาจทําได้ยากเช่นกัน การแบ่งรายรับแบบกำหนดเองเหมาะกับธุรกิจที่ซับซ้อน การลงทุนในกิจการร่วมลงทุน และโครงการความร่วมมือที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งโมเดลมาตรฐานอาจไม่ตอบโจทย์มากพอ
ธุรกิจประเภทใดบ้างที่ใช้การแบ่งรายรับ
ธุรกิจในหลายอุตสาหกรรมสามารถใช้การแบ่งรายรับได้ ต่อไปนี้เป็นธุรกิจประเภทต่างๆ ที่นิยมใช้การแบ่งรายรับ
เทคโนโลยีและซอฟต์แวร์
บริการระบบซอฟต์แวร์ (SaaS): บริษัท SaaS มักจะแบ่งเปอร์เซ็นต์จากรายรับตามแบบแผนล่วงหน้าที่ผู้แนะนําแต่ละรายสร้างขึ้น ให้แก่พันธมิตรหรือตัวแทนจําหน่ายที่โปรโมตผลิตภัณฑ์ของตน
นักพัฒนาแอป: นักพัฒนาแอปอาจแบ่งรายรับกับแอปสโตร์ แพลตฟอร์มโฆษณา หรือพาร์ทเนอร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่และโปรโมตแอปของตน
ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส: โครงการโอเพนซอร์สบางโครงการใช้โมเดลการแบ่งรายรับกับการพัฒนาและการบํารุงรักษาซอฟต์แวร์ บริษัทหรือบุคคลทั่วไปที่มีส่วนร่วมในโครงการจะได้รับส่วนแบ่งจากรายรับเป็นค่าตอบแทน
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ดนตรีและความบันเทิง: บริษัทประเภทเหล่านี้ (เช่น แพลตฟอร์มสตรีมมิง ค่ายเพลง สํานักพิมพ์) แบ่งรายรับกับศิลปินในสังกัดของตน (เช่น ศิลปิน นักดนตรี นักแต่งเพลง) ตามเมตริกการใช้งานที่กำหนด (เช่น สตรีม การดาวน์โหลด ฯลฯ)
สำนักพิมพ์: สำนักพิมพ์มักจะแบ่งรายรับจากการขายหนังสือกับผู้เขียน ซึ่งอาจได้รับค่าลิขสิทธิ์อิงจากเปอร์เซ็นต์ของราคาขายหรือจํานวนเงินตายตัวต่อหนังสือแต่ละเล่ม
ภาพยนตร์และโทรทัศน์: ในการผลิตภาพยนตร์ ทั้งนักแสดง ผู้กํากับ และผู้ผลิตอาจได้รับส่วนแบ่งรายได้จากบ็อกซ์ออฟฟิศหรือผลกําไรจากตลาดอื่นๆ อย่างเช่นการขายดีวีดีและสิทธิ์ในการสตรีม
การค้าปลีกและอีคอมเมิร์ซ
การตลาดแบบพันธมิตร: ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ มักจะมอบค่ามิชชันจากการขายผ่านลิงก์แนะนำให้กับพันธมิตรการตลาดที่โปรโมตสินค้าบนเว็บไซต์หรือช่องทางโซเชียลมีเดียของตน
มาร์เก็ตเพลส: มาร์เก็ตเพลสออนไลน์อย่าง Amazon และ Etsy มอบแพลตฟอร์มให้ผู้ขายประกาศขายผลิตภัณฑ์ของตน โดยผู้ขายจะแบ่งรายรับส่วนหนึ่งกับมาร์เก็ตเพลสเพื่อแลกกับความสะดวกในการทําธุรกรรม
ธุรกิจแฟรนไชส์ บริษัทแฟรนไชส์ที่อนุญาตให้ผู้ซื้อแฟรนไชส์ดําเนินกิจการภายใต้แบรนด์และโมเดลธุรกิจของตนมักจะได้รับเปอร์เซ็นต์ส่วนแบ่งจากรายรับของผู้ซื้อแฟรนไชส์เพื่อเป็นค่าลิขสิทธิ์หรือค่าธรรมเนียมแฟรนไชส์
บริการเฉพาะทาง
บริการให้คําปรึกษา: บริษัทให้คําปรึกษาอาจแบ่งรายรับให้กับที่ปรึกษา ขึ้นอยู่กับโครงการที่หามาให้บริษัทหรือลูกค้าที่ให้บริการ
บริษัทกฎหมาย: บริษัทกฎหมายบางแห่งใช้โมเดลการแบ่งรายรับเพื่อจ่ายค่าตอบแทนแก่พาร์ทเนอร์และทนายความโดยอิงจากรายได้ที่บุคคลเหล่านี้สร้างให้กับบริษัท
บริษัทลงทุน: บริษัทด้านการลงทุนอาจแบ่งผลกําไรให้กับพนักงานหรือลูกค้าตามผลประกอบการของพอร์ตการลงทุน
อุตสาหกรรมอื่นๆ
สื่อและการโฆษณา: ผู้เผยแพร่เนื้อหาออนไลน์และผู้สร้างเนื้อหามักจะจับมือเป็นพาร์ทเนอร์กับเครือข่ายโฆษณา ซึ่งได้รับส่วนแบ่งรายได้จากโฆษณาอิงตามจำนวนการแสดงโฆษณา การคลิก หรือการเปลี่ยนเป็นผู้ใช้แบบชําระเงิน
อสังหาริมทรัพย์: นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อาจแบ่งปันผลกําไรกับนักลงทุนที่จัดหาเงินทุนให้กับโครงการของนักพัฒนา
กีฬา: ลีคกีฬาและสโมสรกีฬามืออาชีพมักจะแบ่งรายรับจากการจําหน่ายตั๋ว สิทธิ์ในการออกอากาศ และสินค้าให้กับผู้เล่น โค้ช และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ
Revenue sharing benefits
Here are some benefits of revenue sharing for businesses.
Alignment of interests: Revenue sharing aligns the interests of all involved parties by linking compensation directly to the success of the business or project. This motivates partners and stakeholders to contribute toward common goals.
Risk distribution: This arrangement distributes the financial risks among all parties. If a venture faces lower than expected revenues, the financial burden doesn’t fall on one party alone. Conversely, all parties benefit from higher earnings, which can make high-risk projects more acceptable and feasible.
Cost efficiency: For startups and smaller businesses, revenue sharing can provide access to services and partnerships without up-front costs. Instead of paying large fees or salaries, businesses can offer a share of the revenue. This can help manage cash flow and reduce initial financial outlays.
Collaboration and improvement: Since revenue sharing ties rewards to performance, it encourages collaboration and continuous improvement. Partners are likely to give their best efforts and improve processes to maximize the shared revenues.
Scale: As revenues increase, all parties benefit proportionally. This can be particularly attractive in high-growth scenarios. Revenue sharing can remove the need for renegotiating pay or investment terms as the business grows.
Attraction of talent: In sales, creative, or similar industries where top talent can substantially impact revenue, a revenue sharing model can help attract and retain high-performing individuals or firms by offering them a direct stake in the business’s success.
Market expansion: Companies can use revenue sharing to expand into new markets or segments by partnering with local businesses that have existing distribution networks and market knowledge. This reduces the cost and risk of market entry.
Revenue sharing challenges
Here are some hurdles of revenue sharing and solutions for them.
Difficulty setting agreements
Determining how to distribute profits fairly can be complicated, and disputes can arise over who deserves what percentage.
Solutions
Outline each party’s roles, responsibilities, and contributions to establish a baseline for determining fair revenue shares.
Use precise language and formulas to define how to calculate and distribute revenue. Consider factors such as gross or net revenue, specific product lines, and performance-based metrics.
Include contract provisions for how to resolve disputes.
Mistrust and disputes
Accounting discrepancies or lack of transparency can lead to conflicts and damage to trust.
Solutions
Provide all parties with regular, detailed financial reports that show revenue, expenses, and the calculation of each party’s share.
Consider engaging independent auditors to verify financial records and demonstrate transparency.
Promote a culture of open communication where parties can discuss financial matters and address any concerns.
Short-term focus
Revenue sharing can sometimes encourage a short-term focus on maximizing immediate revenue, which might come at the expense of long-term growth or sustainability.
Solutions
Incorporate both short-term and long-term performance metrics into the revenue sharing model.
Consider vesting periods for revenue shares, where stakeholders earn a portion of the share over time based on their continued contributions and performance.
Conflicting goals
Partners might have different priorities or goals for the business. For example, one partner might prioritize swift growth while another might prioritize profitability. These misaligned goals can create tension and hinder decision-making.
Solutions
Confirm all parties have a shared vision for the venture’s future and agree on key goals and priorities.
Schedule regular meetings to review progress, discuss challenges, and realign goals if necessary.
Dependency on partners
In a revenue sharing arrangement, a business’s success can be dependent on partners’ performance and actions. This can be a risk if partners fail to meet their obligations or if their interests diverge over time.
Solutions
Set performance benchmarks for each partner to ensure everyone is contributing as expected.
Include provisions for terminating the partnership if certain conditions are not met or if the partnership is no longer beneficial.
Limited autonomy
Businesses might have to cede some control over their operations or decision-making to accommodate partners’ needs and interests. Businesses that value independence and autonomy might find this challenging.
Solutions
Clearly describe areas where each partner has autonomy and decision-making power.
Promote open communication and collaboration so all partners feel heard and respected.
Unpredictable revenue
Revenue sharing can lead to unpredictable income for businesses and individuals, as earnings depend on the venture’s fluctuating performance. This can make financial planning and budgeting difficult.
Solutions
Save cash reserves to cover unexpected expenses or downturns in revenue.
Diversify revenue streams to reduce dependence on a single income source.
Loss sharing
While revenue sharing typically involves sharing profits, it can also involve losses. If the agreement doesn’t distribute losses fairly, it can create resentment and financial strain for some partners.
Solutions
Establish terms for how to share losses among partners.
Evaluate factors such as initial investment, ongoing contributions, and risk tolerance.
Consider obtaining insurance to protect against potential losses.
Tax implications
Revenue sharing arrangements can have complex tax implications for both businesses and individuals.
Solutions
- Consult tax professionals to understand the tax implications of the revenue sharing arrangement and for proper tax reporting and compliance.
เนื้อหาในบทความนี้มีไว้เพื่อให้ข้อมูลทั่วไปและมีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่ควรใช้เป็นคําแนะนําทางกฎหมายหรือภาษี Stripe ไม่รับประกันหรือรับประกันความถูกต้อง ความสมบูรณ์ ความไม่เพียงพอ หรือความเป็นปัจจุบันของข้อมูลในบทความ คุณควรขอคําแนะนําจากทนายความที่มีอํานาจหรือนักบัญชีที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการในเขตอํานาจศาลเพื่อรับคําแนะนําที่ตรงกับสถานการณ์ของคุณ