Stripe lançada na Tailândia
- As empresas tailandesas já podem usar a Stripe para receber pagamentos dos principais cartões de crédito e do sistema nacional PromptPay.
- Milhares de empresas tailandesas já se cadastraram na Stripe.
BANGKOK — A Stripe anunciou o hoje lançamento geral da sua plataforma de infraestrutura financeira na Tailândia, onde deve ajudar a resolver problemas complexos enfrentados pelas empresas locais na área de pagamentos.
“A economia digital da Tailândia é uma das que mais cresce no sudeste asiático, mas ainda é absurdamente complicado e difícil movimentar valores online”, resume Tee Chayakul, country director da Stripe na Tailândia. “Nosso objetivo é remover essas barreiras, com uma infraestrutura financeira que ajude empresas ambiciosas a aumentar receitas, automatizar tarefas de pouco valor agregado e expandir internacionalmente.”
Milhares de empresas tailandesas já se inscreveram na Stripe durante a fase beta no último ano, como a plataforma imobiliária
Baania, a varejista líder em móveis de luxo Chanintr, o resort Coconut Beach Bungalows, a plataforma de software de contabilidade FlowAccount e a plataforma para criadores digitais Storior.
“Fico feliz com o lançamento da Stripe na Tailândia e com o fato de que a empresa passará a aceitar muito mais formas de pagamento regionais. Poderemos alcançar clientes em novos mercados”, celebra Apiporn Simapornchai, diretor de tecnologia da Baania.
“A facilidade da integração com a solução de pagamentos da Stripe é um grande atrativo. A parceria ajudará mais empresas tailandesas a simplificar as operações de contabilidade e facilitará o recebimento de pagamentos online”, comemora Kridsada Chutinaton, CEO e sócio da FlowAccount.
Agora as empresas tailandesas têm acesso completo a soluções poderosas, como
Billing para assinaturas e pagamentos recorrentes; Checkout e Payment Links para e-commerce; Invoicing para cobrança e reconciliação automática; Radar para detecção e prevenção de fraudes; Connect para plataformas e marketplaces e software; e outras.
Será possível receber pagamentos dos principais cartões de crédito, como Visa e Mastercard, além do PromptPay, uma forma de pagamentos da Tailândia que usa identificadores únicos, como número de celular, documento de identidade ou código QR, para que os clientes possam pagar através de diversos aplicativos. A Stripe colaborou com o Banco da Tailândia no preparo do lançamento de serviços de pagamento para empresas tailandesas.
“O Banco da Tailândia permite oferecer serviços para pagamentos digitais convenientes e seguros, atendendo às necessidades dos clientes e ampliando o acesso a serviços de pagamento. O lançamento comercial da Stripe ajudará no desenvolvimento de inovação e proporcionará acesso mais amplo a serviços de pagamento digitais para pessoas físicas e jurídicas”, explica Siritida Panomwon Na Ayudhya, diretora-assistente do grupo de políticas para sistemas de pagamentos e tecnologia financeira do Banco da Tailândia.
O lançamento expande os investimentos da Stripe na Ásia-Pacífico, onde ela já oferece serviços na Austrália, Hong Kong, Japão, Malásia, Nova Zelândia, Singapura e agora Tailândia.
Stripe เปิดตัวในประเทศไทย
- ธุรกิจในประเทศไทยสามารถใช้ Stripe เพื่อรับชําระเงินผ่านบัตรเครดิตชั้นนำและการชําระเงินด้วยพร้อมเพย์ได้แล้ววันนี้
- ธุรกิจหลายพันแห่งในประเทศไทยเลือกใช้บริการของ Stripe
กรุงเทพฯ - Stripe แพลตฟอร์มผู้ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางการเงินสำหรับธุรกิจต่าง ๆ และช่วยแก้ปัญหาขั้นตอนการชําระเงินอันซับซ้อน ประกาศพร้อมให้บริการในประเทศไทยแล้ววันนี้
“ประเทศไทยมีเศรษฐกิจดิจิทัลที่โตเร็วที่สุดประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่อย่างไรก็ตามการโอนเงินผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ก็ยังมีความยุ่งยากและขาดประสิทธิภาพอยู่ Stripe ต้องการกำจัดอุปสรรคเหล่านี้ด้วยการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางการเงิน เพื่อช่วยให้ธุรกิจที่มีความมุ่งมั่น สามารถเพิ่มรายได้ให้เติบโตมากยิ่งขึ้น และได้ใช้ระบบอัตโนมัติกับงานที่สร้างมูลค่าต่ำของธุรกิจ พร้อมช่วยในการขยายธุรกิจไปสู่ตลาดโลกโดยการบริหารจัดการที่สะดวกสบาย” คุณธีร์ ฉายากุล ผู้อำนวยการประจำประเทศไทย บริษัท Stripe ประเทศไทยกล่าว
ธุรกิจหลายพันแห่งในประเทศไทยได้สมัครใช้บริการของ Stripe ในช่วงปีที่ผ่านมา เช่น แพลตฟอร์มตลาดอสังหาริมทรัพย์ออนไลน์ Baania แบรนด์เฟอร์นิเจอร์ระดับหรู Chanintr โครงการรีสอร์ทพักตากอากาศ Coconut Beach Bungalows แพลตฟอร์มโปรแกรมบัญชี FlowAccount และแพลตฟอร์มออกแบบคาแรคเตอร์ Storior
“เราชื่นชมโซลูชันการชําระเงินของ Stripe ที่สามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย การร่วมเป็นพันธมิตรกับ Stripe จะช่วยให้ธุรกิจในประเทศไทยสามารถบริหารจัดการงานบัญชีและสามารถรับชำระเงินออนไลน์ได้อย่างง่ายดาย” คุณกฤษฎา ชุตินธร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง FlowAccount กล่าวเสริม
ทุกธุรกิจในประเทศไทยสามารถใช้งานโซลูชันที่มีประสิทธิภาพนี้ของ Stripe เช่น ระบบ Billing ที่ครอบคลุมการออกใบเสร็จเรียกเก็บค่าสินค้าและบริการ และการชำระเงินตามรอบ ระบบ Checkout และ ระบบ Payment Links สำหรับธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ระบบ Invoicing สำหรับการออกใบแจ้งหนี้เพื่อการเรียกเก็บเงินอัตโนมัติ และการกระทบยอดธุรกรรมแบบอัตโนมัติ ระบบ Radar สำหรับตรวจจับและป้องกันการทุจริต ระบบ Connect สำหรับแพลตฟอร์มซอฟต์แวร์ และมาร์เก็ตเพลส และอื่น ๆ อีกมากมาย
นอกจากนี้ ธุรกิจต่าง ๆ ในประเทศไทย ยังสามารถรับการชำระเงิน จากบัตรเครดิตชั้นนำ เช่น วีซ่า และ มาสเตอร์การ์ด รวมถึงการรับชำระเงินผ่านพร้อมเพย์ หนึ่งในวิธีการชําระเงินในประเทศไทยที่ใช้ข้อมูลระบุตัวตน เช่น หมายเลขโทรศัพท์ เลขบัตรประจําตัวประชาชน หรือรหัส QR เพื่อให้ลูกค้าสามารถชําระเงินโดยใช้แอปพลิเคชันที่ต้องการได้ ทั้งนี้ Stripe ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อเตรียมการเปิดตัวบริการชําระเงินสําหรับธุรกิจไทยอีกด้วย
“ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) พร้อมสนับสนุนการบริการด้านการชำระเงินดิจิทัลที่มีความหลากหลาย เพื่อความสะดวก ปลอดภัย และตรงกับความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะช่วยให้ลูกค้าเข้าถึงบริการด้านการชำระเงินได้อย่างทั่วถึง การที่ Stripe เข้ามาเปิดบริการในประเทศไทย จะช่วยพัฒนานวัตกรรมและการเข้าถึงบริการชำระเงินของประชาชนและธุรกิจได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น” คุณสิริธิดา พนมวัน ณ อยุธยา ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายระบบการชำระเงินและเทคโนโลยีทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวถึงการเปิดตัวของ Stripe ในประเทศไทย
การเปิดตัวในประเทศไทยครั้งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของภารกิจในการให้บริการและการขยายธุรกิจของ Stripe ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพื่อรองรับธุรกิจอย่างครอบคลุมในออสเตรเลีย ฮ่องกง ญี่ปุ่น มาเลเซีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ และประเทศไทย